การเล่าเรื่อง (Telling the Story)
สารคดีจะต้องเล่าเรื่องตลอด เพราะมีมิติของเวลาเข้ามาเกี่ยวข้อง มิติเวลาเป็นตัวสร้างเรื่อง
เวลาเป็นองค์ประกอบ สิ่งที่นำเสนอไปบนจอจะเป็น "เรื่อง"
เวลาเป็นองค์ประกอบ สิ่งที่นำเสนอไปบนจอจะเป็น "เรื่อง"
ซึ่งเรื่องจะเกิดขึ้นได้ต้องมีการเปลี่ยนแปลง...มีการเคลื่อนไหว
...สิ่งที่มาก่อนจะเป็นตัวกำหนดสิ่งที่ตามมา...
สิ่งที่คาดหวัง
1. เรื่องนั้นเป็นเรื่องที่ดี
2. เรื่องนั้นเป็นเรื่องที่คนทำอยากจะเล่า
1. เรื่องนั้นเป็นเรื่องที่ดี
2. เรื่องนั้นเป็นเรื่องที่คนทำอยากจะเล่า
เรื่องไม่ใช่ Plot และ Plot นั้นคือโซ่ที่จะเชื่อมสิ่งหนึ่งเข้ากับอีกสิ่งหนึ่ง
วิสัยมนุษย์มักคิดว่า สิ่งที่เกิดก่อน และหลังจะเชื่อมกัน
หนัง (นิยาย) พยายามสร้างกระบวนการที่เป็นเหตุ ไปสู่ ผล เป็น plot
สารคดีบอกกับผู้ชมตลอดเวลา ว่าสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องจริง และเที่ยงตรง เพราะฉะนั้นสารคดี
อาจจะไม่มี plot ก็ได้ แต่ต้องมี "เรื่อง" และ "เรื่อง" ของสารคดีนั้นเป็นอะไรก็ได้
ถ้ามีมิติของเวลา (ไม่เกี่ยวว่าจะเป็นเรื่องดีหรือไม่ดี)
อาจจะไม่มี plot ก็ได้ แต่ต้องมี "เรื่อง" และ "เรื่อง" ของสารคดีนั้นเป็นอะไรก็ได้
ถ้ามีมิติของเวลา (ไม่เกี่ยวว่าจะเป็นเรื่องดีหรือไม่ดี)
สิ่งที่ผู้ชมตามคือ "เรื่อง"
สิ่งที่ผู้ชมจะถามตลอดเวลา คือ แล้วอะไรจะเกิดขึ้นต่อไป และอะไรจะเกิดขึ้นในที่สุด
สิ่งที่ผู้ชมจะถามตลอดเวลา คือ แล้วอะไรจะเกิดขึ้นต่อไป และอะไรจะเกิดขึ้นในที่สุด
เพราะฉะนั้นสิ่งที่ให้ได้ในการทำสารคดี หรือหากลไกในการที่จะแปลงนามธรรม หรือแม้กระทั่ง
สิ่งที่ไม่เป็นเรื่องทั้งหลาย ให้เป็นสิ่งที่สามารถบอกเล่าได้ในลักษณะของเรื่องก็คือ
สิ่งที่ไม่เป็นเรื่องทั้งหลาย ให้เป็นสิ่งที่สามารถบอกเล่าได้ในลักษณะของเรื่องก็คือ
1. หา subject (ประธาน) นั่น คือเป็นการตอบคำถามให้ได้ว่า "เรื่องนี้มันเกี่ยว
กับอะไร" (ซึ่งต้องตอบให้ได้เพียงไม่กี่คำ ไม่เกิน 1 บรรทัด)
กับอะไร" (ซึ่งต้องตอบให้ได้เพียงไม่กี่คำ ไม่เกิน 1 บรรทัด)
ประธานเป็นตัวหลักของเรื่อง ซึ่งต้องเป็น "รูปธรรม" เป็นอะไรก็ได้ จับต้องได้ อย่าให้เป็น
ความคิดที่กระจัดกระจาย อาจเป็นความคิดก็ได้...แต่มันจะต้องง่ายและชัด
ในเรื่องที่ซับซ้อน ก็ต้องเล่าอย่างง่ายๆ แต่ไม่ได้หมายความว่าจะต้องหมดความซับซ้อน...
ที่สำคัญต้องถ่ายทำได้(บันทึกได้)
ความคิดที่กระจัดกระจาย อาจเป็นความคิดก็ได้...แต่มันจะต้องง่ายและชัด
ในเรื่องที่ซับซ้อน ก็ต้องเล่าอย่างง่ายๆ แต่ไม่ได้หมายความว่าจะต้องหมดความซับซ้อน...
ที่สำคัญต้องถ่ายทำได้(บันทึกได้)
วิธีการที่ใช้คือ synnecdoche นั่นคือ ให้ส่วนหนึ่งเป็นตัวแทนของสิ่งทั้งหมด เช่น
คนแทนสังคม, ต้นไม้แทนธรรมชาติ ฯลฯ
คนแทนสังคม, ต้นไม้แทนธรรมชาติ ฯลฯ
เพราะฉะนั้น สิ่งที่นำเสนอในโทรทัศน์จึงไม่ใช่สิ่งที่มันเป็น แต่มันเป็นสัญลักษณ์ที่นำเสนอ/สะท้อน
ถึงโลกความเป็นจริง...
ถึงโลกความเป็นจริง...
จุดเด่นของโทรทัศน์คือ นำเสนอภาพที่ติดดินได้ดี เช่น การนำเสนอภาพคนคั่วถั่ว จะชัดกว่าคน
ที่ทำธุรกิจถั่ว แต่คนคั่วถั่ว สามารถชี้ถึงธุรกิจถั่วได้...
ที่ทำธุรกิจถั่ว แต่คนคั่วถั่ว สามารถชี้ถึงธุรกิจถั่วได้...
2. หา tread (เชือก, โซ่,) ซึ่งไม่จำเป็นต้องเป็นคน, สัตว์หรือ
สิ่งของเท่านั้น เป็นความคิดก็ได้ เป็นสิ่งใดก็ได้ที่เชื่อมโยงกับประธาน (subject) เชือก/โซ่
/ตัวร้อยเรื่อง จะต้องสะท้อนถึง Theme ด้วย...
สิ่งของเท่านั้น เป็นความคิดก็ได้ เป็นสิ่งใดก็ได้ที่เชื่อมโยงกับประธาน (subject) เชือก/โซ่
/ตัวร้อยเรื่อง จะต้องสะท้อนถึง Theme ด้วย...
จะต้องตอบคำถามว่าเรื่องมันจะไปตามเส้นทางไหน?
เส้นทางไหนที่ฉันจะต้องตามเรื่องไป?
โซ่/ เชือก คือ ตัวร้อยเรื่อง...ส่วนใหญ่เป็นกิจกรรม, พฤติกรรม ของสิ่งที่เป็นประธาน
สารคดีส่วนใหญ่ หาโซ่/เชือกที่ตามง่ายๆ (ที่ชัด) แต่เนื่องจากสารคดีมาจากชีวิตจริงที่
ค่อนข้างสับสนดังนั้นจะต้องหาตัวร้อยเรื่องที่แข็ง, ต่อเนื่อง,เดี่ยวและน่าฉงน (จับใจ)
ค่อนข้างสับสนดังนั้นจะต้องหาตัวร้อยเรื่องที่แข็ง, ต่อเนื่อง,เดี่ยวและน่าฉงน (จับใจ)
เรื่องในสารคดีจะมีจุดที่เรียกว่า "Digress" คือ การออก/เฉ ไปทางอื่นบ้าง เช่น
การอรรถาธิบาย, บรรยาย หรือให้ข้อมูล...
การอรรถาธิบาย, บรรยาย หรือให้ข้อมูล...
เพราะฉะนั้นความแข็งของเรื่องคือ การออกไป/เฉไป จะต้องเกี่ยวเนื่องกับตัวร้อยเรื่องหลักอยู่
และการที่จะเกิด Digress ได้ ต้องมีแรงจูงใจ...นั่นคือผู้ชมต้องมีความอยากรู้
Digress จะมาเมื่อมีความรู้สึกว่ามีแรงกระตุ้น ให้เกิด...
ที่สำคัญเมื่อเฉออกไปแล้ว ต้องรีบกลับมาบนตัวร้อยเรื่อง...และเดินไปข้างหน้าต่อไป...
แหล่งที่มา
http://www.baanmaha.com/community/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%99-%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%99-%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%94%E0%B8%B5-%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%84%E0%B8%B1%E0%B8%8D/
แหล่งที่มา
http://www.baanmaha.com/community/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%99-%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%99-%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%94%E0%B8%B5-%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%84%E0%B8%B1%E0%B8%8D/
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น